1941–44 : พักรบ ของ แนวรบด้านตะวันตก_(สงครามโลกครั้งที่สอง)

ด้วยการที่ลุฟท์วัฟเฟอไม่สามารถในการทำลายกองทัพอากาศแห่งอังกฤษในยุทธการที่บริเตน,การยึดครองสหราชอาณาจักรไม่สามารถทำได้อีกต่อไปได้ด้วยความคิดที่เป็นทางเลือก.ในขณะที่กองทัพเยอรมันส่วนใหญ่ได้ทำการรวบรวมกำลังพลเพื่อการรุกรานสหภาพโซเวียต,การริเริ่มก่อตั้งกำแพงแอตแลนติก-หนึ่งในป้อมปราการป้องกันตามแนวชายฝั่งของฝรั่งเศสบนบริเวณช่องแคบอังกฤษ.ป้อมปราการเหล่านี้ได้ถูกสร้างขึ้นตามความคาดการณ์ในการยกพลขึ้นบกของฝ่ายสัมพันธมิตรในการบุกยึดครองฝรั่งเศส.

เนื่องจากการขนส่งแบบขนาดใหญ่เป็นอุปสรรคในรุกข้ามช่องแคบที่จะต้องเผชิญ,กองบัญชาการทหารสูงสุดของฝ่ายสัมพันธมิตรได้ตัดสินใจที่ทำการโจมตีทางปฏิบัติในบริเวณชายฝั่งของฝรั่งเศสในวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 1942,ฝ่ายสัมพันธมิตรได้เริ่มโจมที่เดียป,การโจมตีที่ท่าเรือที่เดียปของฝรั่งเศส.กองทัพส่วนใหญ่เป็นชาวแคนนาดา,กับกองกำลังเหล่าของอังกฤษบางส่วน,และกองกำลังขนาดเล็กของอเมริกันและกองกำลังเสรีฝรั่งเศสพร้อมกับการสนับสนุนจากกองทัพเรืออังกฤษและโปแลนด์.การโจมตีเป็นความหายนะ,จำนวนเกือบสองในสามส่วนของกองกำลังจู่โจมกลายเป็นการสูญเสีย, อย่างไรก็ตาม, มันก็ได้กลายเป็นบทเรียนอย่างมากจากผลของปฏิบัติการ-บทเรียนเหล่านี้ได้นำไปใช้ในการยกพลขึ้นบกที่ดีได้ในภายหลัง

จากเกือบสองปี,ไม่มีการสู้รบที่ใดๆเลยในด้านแนวรบตะวันตกยกเว้นการจู่โจมของเหล่าหน่วยคอมมานโดและปฏิบัติการรบแบบกองโจรในการต่อต้านซึ่งได้รับการช่วยเหลือจากหน่วยบริหารปฏิบัติการพิเศษ (SOE) และสำนักบริการด้านยุทธศาสตร์ (OSS).อย่างไรก็ตาม,ในขณะเดียวกัน,ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ทำสงครามกับเยอรมนี,ด้วยการโจมตีทางอากาศด้วยการทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ กองทัพอากาศแบบการทิ้งระเบิดที่ 8 แห่งสหรัฐจะทิ้งระเบิดในช่วงตอนกลางวัน และกองทัพอากาศแห่งสหราชอาณาจักรจะทิ้งระเบิดในช่วงตอนกลางคืน ส่วนใหญ่ของกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรที่ครอบครองในเมดิเตอร์เรเนียน ได้พยายามที่จะเคลียร์ทางทะเลไปยังมหาสมุทรอินเดียและเข้ายึดครองสนามบินฟอจจาคอมเพล็กซ์(Foggia Airfield Complex)

การโจมตีของอังกฤษสองครั้งในช่วงแรกสำหรับการสู้รบด้วยเกียรติยศได้มอบรางวัลจากปฏิบัติการคอลลาร์ในบูโลญ (วันที่ 11 มิถุนายน ปี ค.ศ. 1940) และปฏิบัติการแอมบาเซเดอร์ในเกิร์นซีย์ (วันที่ 14–15 กรกฎาคม ปี ค.ศ. 1940).การโจมตีจากอังกฤษซึ่งได้มอบรางวัลจากการทัพยุโรปเหนือ-ตะวันตก การสู้รบด้วยเกียรติยศ: ปฏิบัติการบีทิง - บุนเนเวล์ (วันที่ 27–28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1942), แซ็ง-นาแซร์ (วันที่ 27–28 มีนาคม ค.ศ. 1942), ปฏิบัติการเมิร์นมิดอน -บายอน (วันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1942), ปฏิบัติการแอปเบอร์คอมบี - ฮาร์เดอลูท์ (วันที่ 21–22 เมษายน ค.ศ. 1942), เดียป (วันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1942) และปฏิบัติการแฟรงก์ตัน - ฌีรงด์(วันที่ 7–12 ธันวาคม ค.ศ. 1942).[11][12]

การโจมตีเกาะซาร์กในคืนวันที่ 3-4 ตุลาคม ค.ศ. 1942 เป็นที่น่าสังเกต เพราะอีกไม่กี่วันหลังจากการโจมตี เยอรมนีได้ออกแถลงการณ์แบบโฆษณาชวนเชื่อซึ่งหมายความว่านักโทษอย่างน้อยหนึ่งคนได้หลบหนีและอีกสองคนถูกยิงขณะที่กำลังต่อต้านการมัดมือ นี่คือตัวอย่างของการผูกข้อมือนักโทษซึ่งสนับสนุนการตัดสินใจของฮิตเลอร์ในการออกคำสั่งของเขาคือคำสั่งคอมมานโด ในการชี้นำให้หน่วยคอมมานโดทั้งหมดหรือทหารของหน่วยคอมมานโดที่จับกุมมาได้นั้นจะต้องถูกดำเนินการประหารชีวิตตามกระบวนการอย่างเร่งรัด

ในช่วงฤดูร้อน ปี ค.ศ. 1944 เมื่อความคาดเดาของการรุกรานของฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับการยอมรับอย่างเสรีจากผู้บัญชาการทหารเยอรมัน การจัดการของทหารได้อยู่ภายใต้โอบี เวสต์(กองบัญชาการในกรุงปารีส) จากนั้นก็ได้สั่งการให้กองทัพสามกลุ่ม: กองบัญชาการกองทัพแวร์มัคท์จากเนเธอร์แลนด์(Wehrmachtbefehlshaber#Niederlande) หรือ WBN ไปประจำการครอบคลุมชายฝั่งของเนเธอร์แลนด์และเบลเยียม และกองทัพกลุ่มบีจะไปประจำการครอบคลุมชายฝั่งทางตอนเหนือของฝรั่งเศสกับกองทัพเยอรมันที่ 15 (กองบัญชาการใน Tourcoing) ในพื้นที่ตอนเหนือของแม่น้ำแซน; กองทัพเยอรมันที่ 7 (กองบัญชาการในเลอม็อง) ระหว่างแม่น้ำแซนและแม่น้ำลัวร์เพื่อทำการปกป้องช่องแคบอังกฤษและชายฝั่งแอตแลนติก และกองทัพกลุ่มจีกับคอยรับผิดชอบดูแลจากอ่าวบิสเคย์และวิชีฝรั่งเศส, กับกองทัพที่ 1 (กองบัญชาการในบอร์โด) คอยรับผิดชอบดูแลจากชายฝั่งแอตแลนติกระหว่างแม่น้ำลัวร์และชายแดนสเปนและกองทัพที่ 19 (กองบัญชาการในอาวีญง) คอยรับผิดชอบดูแลจากชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

มันเป็นไปไม่ได้ที่จะคาดการณ์ว่าฝ่ายสัมพันธมิตรอาจจะเลือกที่จะเปิดฉากการรุกรานของพวกเขา โอกาสของการลงจอดเพื่อยกพลขึ้นบกนั้นจำเป็นต้องมีการแพร่กระจายขนาดใหญ่ของกองกำลังสนับสนุนที่เคลื่อนที่ได้เร็ว ซึ่งพวกเขาได้มีกองยานเกราะ (พันท์เซอร์) แต่ละกองทัพกลุ่มจะได้รับการจัดสรรให้เป็นกองกำลังสนับสนุนที่เคลื่อนที่ได้เร็ว กองทัพกลุ่มบีได้มีกองพลยานเกราะที่ 2 ในทางตอนเหนือฝรั่งเศส กองพลยานเกราะที่ 116 ในพื้นที่ปารีส และกองพลยานเกราะเยอรมันที่ 21 ในนอร์ม็องดี กองทัพกลุ่มจีได้พิจารณาถึงความเป็นไปได้ของการรุกรานทางชายฝั่งแอตแลนติก ได้มีการกระจายกองกำลังสนับสนุนที่เคลื่อนที่ได้เร็ว การตั้งอยู่ของกองพลยานเกราะเยอรมันที่ 11 ในฌีรงด์ กองพลยานเกราะเอ็สเอ็สที่ 2 ควบคู่กับดูแลรอบเมืองทางตอนใต้ฝรั่งเศสที่มงโตบ็อง และกองพลยานเกราะที่ 9 ประจำการในพื้นที่ Rhone delta

กองบัญชาการ OKW ยังคงมีกองกำลังสนับสนุนขนาดใหญ่ที่สำคัญของกองพลเคลื่อนเร็วดังกล่าว แต่พวกเหล่านี้ได้ถูกกระจัดกระจายไปทั่วพื้นที่ขนาดใหญ่: กองพลยานเกราะเอ็สเอ็สที่ 1 ยังได้ก่อตัวขึ้นและฝึกฝนในเนเธอร์แลนด์ กองพลยานเกราะเอ็สเอ็สที่ 12 และกองพลยานเกราะ-เลอร์(Panzer-Lehr Division) ได้ตั้งอยู่ในพื้นที่ปารีส-ออร์เลอ็อง ตั้งแต่เขตป้องกันชายฝั่งนอร์ม็องดีหรือ (Küstenverteitigungsabschnitte – KVA) ได้พิจารณาพื้นที่มากที่สุดสำหรับการรุกราน กองพลทหารราบยานเกราะเอ็สเอ็สที่ 17 ได้ตั้งอยู่ทางตอนใต้แม่น้ำลัวร์ในบริเวณใกล้เคียงของ Tours

ใกล้เคียง

แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่สอง) แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่สอง) แนวรบด้านตะวันตก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง) แนวรบด้านตะวันออก (สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง) แนวรบด้านตะวันตก เหตุการณ์ไม่เปลี่ยนแปลง แนวรบยูเครนที่ 1 แนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1 แนวรบทะเลทราย แนวรบด้านเมดิเตอร์เรเนียนและตะวันออกกลาง แนวรบด้านตะวันออกของสงครามกลางเมืองอเมริกา

แหล่งที่มา

WikiPedia: แนวรบด้านตะวันตก_(สงครามโลกครั้งที่สอง) http://www.canadiansoldiers.com/mediawiki-1.5.5/in... http://www.canadiansoldiers.com/mediawiki-1.5.5/in... http://www.wwii-photos-maps.com/twelfthalliedarmyg... http://www.strom.clemson.edu/publications/sg-war41... http://www.history.army.mil/brochures/centeur/cent... http://www.ibiblio.org/hyperwar/USA/COS-Biennial/C... http://www.regiments.org/about/index.htm http://www.regiments.org/wars/20ww2/eur-nw42.htm http://www.ushmm.org/wlc/en/article.php?ModuleId=1... https://books.google.com/books?id=iFEEAAAAMBAJ&pg=...